Hi /สวัสดีค่ะ ยินดีต้อนรับ



e:jj774248@gmail.com
คุณเล็ก
084-327-0964,0845356909

วันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ชุปเคลือบเงาเบญจรงค์


ชุปเคลือบเงาเบญจรงค์

การเข้าเตาเผา

การเข้าเตาเผา

ขั้นตอนการปั้นของขาว


ขั้นตอนการปั้นของขาวเพื่อนำมาวาดเครื่องเบญจรงค์ไทย

ขั้นตอนการลงสีเบญจรงค์ไทย



ขั้นตอนการลงสีเบญจรงค์ไทย

ร้านนรินทร์เบญจรงค์


ร้านนรินทร์เบญจรงค์

ชุดชามฝาเบญจรงค์ไทย


ชุดชามฝาเบญจรงค์ไทย
ใช้งานได้จริง ตกแต่งบ้านสวยงามมาก
ใช้ในงานทำบุญเลี้ยงพระ
ติดต่อโทร.0819102056 คุณเปิ้ล

โถใส่น้ำตาลเบญจรงค์ไทย



โถใส่น้ำตาลเบญจรงค์ไทย

ใช้ตกแต่งบ้านสวยงามมาก

หรือสะสมของเก่าๆแปลกได้

ถ้วยชาจีนเบญจรงค์ไทย


ถ้วยชาจีนเบญจรงค์ไทย
ใช้ตกแต่งบ้าน
เป็นของชำร่วย
สั่งซื้อได้ราคาโรงงานถูกๆๆๆ
ติดต่อ โทร.0819102056

ช้างเบญจรงค์ไทย


ช้างเบญจรงค์ไทย
ใช้ตกแต่งบ้านสวยงามมาก
แสดงถึงความฉลาด หลักแหลม มีสติปัญญาดี

หมูน้อยศิลาดลเบญจรงค์ไทย


หมูน้อยศิลาดลเบญจรงค์ไทย
ใช้ตกแต่งบ้านสวยงามมาก
แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์

ม้าเบญจรงค์ไทย


ม้าเบญจรงค์ไทย
ใช้ตกแต่งบ้านสวยงามมาก

แมวเบญจรงค์/benjarongcat


แมวเบญจรงค์ไทยเขียนลายโบราณ
ใช้ตกแต่งบ้านสวยงามมาก
สิ่งมงคลนำโชคลาภ ความโชคดี

แก้วมัคเบญจรงค์1


แก้วมัคเบญจรงค์1ลายจักรีสีแดง
เหมาะสำหรับตกแต่งบ้าน
ราคาพิเศษสอบถาม0819102056

แก้วมัคเบญจรงค์


แก้วมัคเบญจรงค์ ลายจักรี สีน้ำเงินทั้งชุด
สวยงามมาก เหมาะสำหรับตกแต่งบ้าน

ชุดไหว์พระเบญจรงค์


ชุดไหว์พระเบญจรงค์ ลายพิกุลทอง สีแดงทั้งชุด
พร้อมใส่กล่องผ้าไหมสีแดง
ขนาดแจกันสูง 6 นิ้ว กระถางธูปกว้าง 3.5 นิ้ว
เหมาะสำหรับเป็นของขวัญขึ้นบ้านใหม่

ขันข้าวเบญจรงค์


ขันข้าว ลายดอกไม้ร่วงสีน้ำเงิน
ใช้ในงานทำบุญตักบาตร
ของตกแต่ง นักสะสมของเก่า

หมาการณ์ตูนเบญจรงค์



หมาการณ์ตูน

หมา เขียนลายเบญจรงค์ใส่กล่องผ้าไหม

เหมาะสำหรับ ตกแต่งบ้าน ของสะสม ของขัวญ ของชำร่วยเทศกาลต่างๆ

ตลับนามบัตรเบญจรงค์ไทย



ตลับนามบัตร

เขียนลายแบบไทย ชื่อลายจักรีสีแดง

สวยงามมาก เหมาะสำหรับตกแต่งบ้าน เป็นของขวัญ ของชำร่วยในเทศกาลต่างๆ

วันพุธที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ประเภทเครื่องเบญจรงค์

5 สี "เบญจรงค์"
ชื่อเรียกเครื่องถ้วยชนิดหนึ่งที่มีใช้ในประเทศไทยแต่ครั้งอยุธยาสืบถึงรัตนโกสินทร์ เป็นเครื่องถ้วยที่สั่งทำพิเศษจากแผ่นดินใหญ่โพ้นทะเล
ช่างไทยออกแบบ ให้ลาย ให้สี ส่งไปให้ช่างจีนผลิตในประเทศจีน แล้วช่างไทยก็ตามไปควบคุมการผลิตให้ออกมาได้รูปลักษณะงามอย่างศิลปะไทย โดยเฉพาะลวดลายสีสันแสดงเอกลักษณ์ไทยชัดเจน
เครื่องเบญจรงค์หมายถึงเครื่องปั้นดินเผาเคลือบ
เขียนลายโดยลงยาด้วยสีต่างๆ นอกจากสีหลักทั้ง 5 อันมีสีดำ ขาว เหลือง แดง และเขียว(หรือคราม) ยังมีสีรองอย่างชมพู ม่วง น้ำตาล แสด มาเสริมสวย เป็นเครื่องถ้วยที่ต้องใช้ฝีมือสูง ต้องละเอียด ประณีต จากเครื่องใช้ในรั้วในวังถึงปัจจุบันเครื่องเบญจรงค์ยังได้รับความนิยมโดยเฉพาะในแง่เป็นตัวแทนแสดงความเป็นไทย (แม้รากฐานจะเป็นของจีนก็ตาม)
ย้อนอดีตสู่ช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 20 รัชสมัยจักรพรรดิซวนเต๊อะ (ครองราชย์พ.ศ.1969-1978) ราชวงศ์หมิง มีการผลิตเครื่องเคลือบเขียนลายลงยาขึ้นครั้งแรกที่แคว้นกังไซ (ไทยเรียกกังไส ที่มาของชื่อเรียกเครื่องกังไส) มณฑลเจียงซี และพัฒนาต่อมาจนเป็นที่นิยมอย่างมากในรัชสมัยจักรพรรดิเฉิงฮั่ว (พ.ศ.2008-2030) การเขียนลายโดยวิธีลงยาดังกล่าวใช้ตั้งแต่ 3 สีขึ้นไป
ถึงยุคจักรพรรดิวั่นลิ (พ.ศ.2116-2162) มีการผลิตเครื่องเคลือบแบบเบญจรงค์มากที่สุด ติดต่อมาถึงสมัยราชวงศ์ชิง (ปกครองจีนระหว่างพ.ศ.2187-2454) ความสวยงามเข้าตาสยาม จีนรับออร์เดอร์ไม่หวัดไหวให้ผลิตภาชนะเป็นแบบไทย มีการเขียนลาย ให้สี ส่งเป็นตัวอย่างมาให้ เป็นเบญจรงค์ที่ให้ความรู้สึกว่าเป็นของไทยอย่างยิ่ง ครั้นจะผลิตเองยามนั้นก็ออกจะติดขัดอยู่ เนื่องจากไทยยังไม่มีเทคนิคการผลิตที่ดี มีแต่ฝีมือเยี่ยมในการออกแบบลวดลายได้วิจิตร
เครื่องเบญจรงค์มาแรกเริ่มผลิตในประเทศไทยในสมัยพระพุทธเจ้าหลวง เป็นเตาเผาของกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญเครื่องเบญจรงค์ หรือเรียกเครื่องถ้วย มีทั้งแก้วน้ำ ถ้วยกาแฟ กาน้ำชา ชุดถวายข้าวพระพุทธ ตลับใส่ของ และนานา ขั้นตอนการผลิตเริ่มจาก
1.นำเครื่องเคลือบขาวมาล้างให้สะอาด (หากสามารถ เป็นเครื่องดินเผาที่ปั้นเองก็เข้าที แล้วนำมาเคลือบขาว)
2.ตั้งแป้นวนเส้นกำหนดลาย
3.เขียนลายด้วยน้ำทอง
4.ลงสี
5.วนทองส่วนที่เหลือ และ
6.เข้าเตาเผา
ลายยอดนิยมคือ
ลายกระหนก ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายเทพนม นรสิงห์

เครื่องเบญจรงค์ เป็นงานหัตถศิลปล้ำค่า ที่มีความสวยงามแสดงถึงวิถีวัฒนธรรม รสนิยม และเอกลักษณ์ของไทย
รัฐบาลจึงเลือกนำมาเป็นภาชนะสำหรับจัดเลี้ยงอาหารค่ำ ต้อนรับผู้นำประเทศต่างๆ ที่เข้าร่วมประชุมความร่วมมือด้านเศรษฐกิจภูมิภาคเอเซีย และแปซิฟิค (เอเปค 20003) ที่จัดขึ้นที่กรุงเทพฯระหว่างวันที่ 20 – 21 ตุลาคมนี้
นอกจากนี้ยังจัดทำเป็นของที่ระลึกเพื่อมอบให้กับผู้นำประเทศต่างๆ อีกด้วย
เครื่องเบญจรงค์มีการผลิตขึ้นครั้งแรกเมื่อใด ไม่ปรากฎหลักฐานแน่ชัด แต่สันนิษฐานจากการขุดพบที่พระนครศรีอยุธยา และจากลักษณะของลวดลาย สี เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับเครื่องถ้วยจีน และบางชิ้นที่มีเครื่องหมายบอกรัชกาล
เชื่อว่ามีการสั่งทำเครื่องเบญจรงค์จากประเทศจีนมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยช่างคนไทยจะเป็นผู้วาดลวดลาย และเขียนสี ส่งไปผลิตในจีน ดังนั้นลักษณะของเครื่องเบญจรงค์จึงมีความงดงามอย่างไทย ยิ่งกว่าเครื่องปั้นดินเผาประเภทอื่นๆ
แม้แต่เครื่องสังคโลกซึ่งเป็นของไทย ผลิตในประเทศไทย ก็ยังไม่แสดงเอกลักษณ์ไทยอย่างเครื่องเบญจรงค์
ภาชนะที่ผลิตจากเบญจรงค์มีหลายประเภท ได้แก่ ชาม จาน โถ จานเชิง ชามเชิง ช้อน กระโถน กาน้ำ ชุดถ้วยชา ฯลฯ
การใช้สีบนเครื่องเบญจรงค์ นิยมใช้ห้า สี แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีตั้งแต่ สี่ สี ไปจนถึง แปด สีก็มี จนถึงเจ็ดแปดสี สีหลักที่ใช้ได้แก่ แดง เหลือง ขาว ดำ เขียว หรือน้ำเงิน สีอื่นได้แก่ ชมพู ม่วง แสด น้ำตาล ในสมัยก่อนมีการสั่งทำเครื่องเบญจรงค์สำหรับใช้ในราชสำนัก วังเจ้านาย และบ้านขุนนางชั้นสูง
แต่ปัจจุบันเครื่องเบญจรงค์ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
มีการผลิตเพื่อส่งออกไปยังประเทศต่างๆ ทั้งยุโรป และเอเซีย สร้างชื่อเสียงและทำรายได้ให้กับประเทศไทยอย่างมากมายลวดลายที่เขียนบนเครื่องเบญจรงค์
เป็นลายโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ได้แก่
ลายเทพพนมนรสิงห์ ลายบัวเจ็ดสี ลายประจำยาม ลายเบญจมาศ ลายวิชาเยนท์ ฯลฯ
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีลายที่นิยมเพิ่มขึ้นได้แก่
ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายนกไม้พญาสิงขร ลายกุหลาบทอง ฯลฯ
สำหรับเบญจรงค์ที่มอบให้กับผู้นำเอเปคครั้งนี้ มีทั้งหมด 6 ชิ้น
โดยร้านปิ่นสุวรรณเบญจรงค์ ซึ่งเป็นร้านเบญจรงค์เก่าแก่ที่อนุรักษ์ลายโบราณ ตั้งอยู่ที่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ช่างของร้านได้เลือกลายวิชาเยนท์เขียน ลงบนเบญจรงค์ชุดดังกล่าว ซึ่งเป็นลวดลายที่มีความโดดเด่นในการผูกลาย ผสมผสานความเป็นตะวันตก และตะวันออกได้อย่างลงตัว
อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาไทย ความพิเศษของเบญจรงค์ชุดนี้ อยู่ที่เป็นงานฝีมือ หรือที่เรียกว่า หัตถกรรมล้วนๆ ในกรรมวิธีลงลายน้ำทอง และยังใช้น้ำทองคำจริง 22 กะรัต
นำเข้าจากประเทศเยอรมนี ช่วยเพิ่มความงดงามล้ำค่าให้กับเครื่องเบญจรงค์ดังกล่าวยิ่งขึ้นเป็นที่น่าภูมิใจที่ไทยเรามีหัตถศิลปอันงดงาม
ซึ่งนอกจากจะสามารถสร้างความประทับใจแก่ชาวต่างชาติที่ได้พบเห็นแล้ว ยังได้เผยแพร่ความเป็นไทยให้คนทั่วโลกได้ประจักษ์อีกด้วย

ประเภทเครื่องเบญจรงค์

ประเภทเครื่องเบญจรงค์
เครื่องเบญจรงค์หมายถึงเครื่องปั้นดินเผาเคลือบ เขียนลายโดยลงยาด้วยสีต่างๆ นอกจากสีหลักทั้ง 5 อันมีสีดำ ขาว เหลือง แดง และเขียว(หรือคราม) ยังมีสีรองอย่างชมพู ม่วง น้ำตาล แสด มาเสริมสวย เป็นเครื่องถ้วยที่ต้องใช้ฝีมือสูง ต้องละเอียด ประณีต จากเครื่องใช้ในรั้วในวังถึงปัจจุบันเครื่องเบญจรงค์ยังได้รับความนิยมโดยเฉพาะในแง่เป็นตัวแทนแสดงความเป็นไทย (แม้รากฐานจะเป็นของจีนก็ตาม) ลายยอดนิยมคือลายกระหนก ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายเทพนม นรสิงห์

ประวัติการทำเครื่องเบญจรงค์ในประเทศไทย

ประวัติการทำเครื่องเบญจรงค์ในประเทศไทยการทำเครื่องเบญจรงค์

ถือได้ว่า เป็นงานด้านศิลปหัตถกรรมของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เครื่องถ้วยเบญจรงค์ของไทยในอดีตใช้การสั่งทำที่ประเทศจีนตามความคิดและลวดลายของไทย การสั่งทำนั้นจะมีช่างของไทยเดินทางไปควบคุมการผลิตเพื่อให้ได้รูปลักษณะที่เป็นแบบไทย สมัยกรุงศรีอยุธยาและสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ช่วงศตวรรษที่ 18 และ 19 เครื่องถ้วยเบญจรงค์ของราชวงศ์ไทยชั้นสูงได้สั่งทำที่เมืองจิงเต๋อเจิ้น และจากเตาเผาที่มณฑลฝูเจี้ยนและกวางตุ้ง เครื่องเบญจรงค์ที่สั่งทำจากเมืองจิงเต๋อเจิ้น มักเป็นของใช้ในราชสำนักเพราะเนื้อดินปั้นละเอียด แกร่ง และช่างมีฝีมือดี เขียนลายได้ละเอียดสวยงาม ต้นกำเนิดของเครื่องเบญจรงค์ได้ใช้สีวาดระบายเพียง 3 สี ต่อมาได้พัฒนาเครื่องเบญจรงค์มี 5 สี คือ สีขาว สีเหลือง สีดำ สีแดง และสีเขียว ( คราม ) ดังนั้น ชื่อที่เรียกว่า “ เบญจรงค์ ” หมายถึง เครื่องเคลือบที่มีการวาดสีลงไป 5 สี ปัจจุบันมีการใช้สีมากกว่า 30 สี เครื่องเบญจรงค์มีการออกแบบลวดลายต่าง ๆ ด้วยการวาดสี 5 สี ลวดลายที่เป็นที่รู้จักได้แก่ ลายกนก ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายเทพพนม ลายนรสิงห์ รวมตลอดถึงลวดลายดอกไม้ ลายสัตว์ และลวดลายจากเรื่องรามเกียรติ์ เป็นต้น ลวดลายที่วาดลงในเครื่องเบญจรงค์ สะท้อนถึงภูมิปัญญาชาวบ้าน มีวัฒนธรรม ตามความเชื่อของไทย และวิถีชีวิตของคนไทยส่วนเครื่องถ้วยลายน้ำทอง จะเป็นเครื่องปั้นดินเผา ที่เขียนลายด้วยวิธีลงยา เช่นเดียวกันกับเครื่องเบญจรงค์ แต่จะใช้สีทองที่ทำจากทองคำ เครื่องถ้วยลายน้ำทอง ได้รับความนิยมมากในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มต้นมาจากการสั่งทำเครื่องถ้วยลายน้ำทองจากประเทศจีน และผลิตภัณฑ์ที่ยังมีการนำเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่น เครื่องถ้วยเบญจรงค์ และลายน้ำทอง มีการปรับปรุง และคิดค้นรูปแบบ และลวดลายใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นด้วย เช่น ชามทรงบัว ภายในเคลือบขาว หรือเขียวน้ำทะเล ไม่มีลวดลาย สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้มีวิวัฒนาการสืบต่อจากแบบลวดลายในอดีต โถรูปทรงต่าง ๆ มีลวดลายที่น่าสนใจ เช่น ลายราชสีห์ ครุฑ นรสิงห์ กินรี หนุมาน ประกอบร่วมกับลายกนกเปลว และลายก้านขด สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีในรัชกาลที่ 2 ( พ . ศ . 2352) ทรงเป็นผู้ส่งเสริมที่สำคัญในการใช้เครื่องถ้วยลายน้ำทองจนเป็นที่นิยมในราชสำนัก มีการเขียนลายกนก ลายดอกไม้ ลายเครือเถา ลายประจำยาม ลายครุฑ ลายกินรี ลายเทวดา ลายยักษ์ ตลอดจน สัตว์ในหิมพานต์และลายสัตว์จริงได้ถูกผูกเป็นลายลงบนเครื่องถ้วยลายน้ำทอง และลายที่นิยมกันมากในสมัยนั้น คือ ลายดอกกุหลาบ ดอกโบตั๋น และดอกไม้สี่ฤดูซึ่งเป็นดอกไม้มงคล จากการศึกษาวิจัยค้นพบหลักฐานว่าในสมัยรัชกาลที่ 2 มีครอบครัวลาวเวียงจันทร์ และลาวพวน อพยพมาตั้งบ้านเรือนในพระราชอาณาจักร โดยเฉพาะที่เมืองฉะเชิงเทรา ได้มีการพระราชทานชามเบญจรงค์ให้กับมูลนายลาว เครื่องเบญจรงค์ลวดลายเทพพนม นิยมใช้ในพิธีบูชาเทวดา เรียกว่า เครื่องเบญจรงค์บายศรีปากชาม ซึ่งเป็นลักษณะชามเครื่องเบญจรงค์ที่ใช้รองบายศรี สำหรับเครื่องเบญจรงค์ที่มีลาดลายจีนที่นิยมต่อ ๆ มา เช่น ลวดลายดอกไม้สี่ฤดู ลายผีเสื้อ ลายค้างคาว ลายแมลงปอ ลายดอกพุดตาน และลายอื่น ๆ รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เครื่องเบญจรงค์ได้มีการผลิตในประเทศญี่ปุ่นและส่งมาขายในประเทศไทย แต่ไม่เป็นที่แพร่หลายเพราะไม่ได้รับความนิยม จึงมีจำหน่ายในช่วงเวลาสั้น และนักสะสมเครื่องเบญจรงค์ในระยะนั้นเรียกว่า “ เครื่องถ้วยเบญจรงค์ญี่ปุ่น ” ปัจจุบันเครื่องเบญจรงค์ได้กลับมาสู่ความนิยม ชาวไทยและชาวต่างประเทศได้ใช้เครื่องเบญจรงค์เป็นเครื่องประดับตกแต่งบ้าน เครื่องเบญจรงค์ถือเป็นของที่ระลึกและของขวัญที่มีความเป็นเอกลักษณ์สวยงาม หรูหรา และมีคุณค่าสูงสำหรับจะใช้ในโอกาสพิเศษ เช่น ของขวัญวันแต่งงาน http://cityofbenjarong.com/index.htm
Tags: เบญจรงค์
Next: ลักษณะคำสอนย่อๆ ที่นำสมัยในพระไตรปิฎกกล่าวไว้อย่างไรบ้าง

ประวัติการทำเครื่องเบญจรงค์ในประเทศไทย

ประวัติการทำเครื่องเบญจรงค์ในประเทศไทยการทำเครื่องเบญจรงค์
ถือได้ว่า เป็นงานด้านศิลปหัตถกรรมของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เครื่องถ้วยเบญจรงค์ของไทยในอดีตใช้การสั่งทำที่ประเทศจีนตามความคิดและลวดลายของไทย การสั่งทำนั้นจะมีช่างของไทยเดินทางไปควบคุมการผลิตเพื่อให้ได้รูปลักษณะที่เป็นแบบไทย สมัยกรุงศรีอยุธยาและสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ช่วงศตวรรษที่ 18 และ 19 เครื่องถ้วยเบญจรงค์ของราชวงศ์ไทยชั้นสูงได้สั่งทำที่เมืองจิงเต๋อเจิ้น และจากเตาเผาที่มณฑลฝูเจี้ยนและกวางตุ้ง เครื่องเบญจรงค์ที่สั่งทำจากเมืองจิงเต๋อเจิ้น มักเป็นของใช้ในราชสำนักเพราะเนื้อดินปั้นละเอียด แกร่ง และช่างมีฝีมือดี เขียนลายได้ละเอียดสวยงาม ต้นกำเนิดของเครื่องเบญจรงค์ได้ใช้สีวาดระบายเพียง 3 สี ต่อมาได้พัฒนาเครื่องเบญจรงค์มี 5 สี คือ สีขาว สีเหลือง สีดำ สีแดง และสีเขียว ( คราม ) ดังนั้น ชื่อที่เรียกว่า “ เบญจรงค์ ” หมายถึง เครื่องเคลือบที่มีการวาดสีลงไป 5 สี ปัจจุบันมีการใช้สีมากกว่า 30 สี เครื่องเบญจรงค์มีการออกแบบลวดลายต่าง ๆ ด้วยการวาดสี 5 สี ลวดลายที่เป็นที่รู้จักได้แก่ ลายกนก ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายเทพพนม ลายนรสิงห์ รวมตลอดถึงลวดลายดอกไม้ ลายสัตว์ และลวดลายจากเรื่องรามเกียรติ์ เป็นต้น ลวดลายที่วาดลงในเครื่องเบญจรงค์ สะท้อนถึงภูมิปัญญาชาวบ้าน มีวัฒนธรรม ตามความเชื่อของไทย และวิถีชีวิตของคนไทยส่วนเครื่องถ้วยลายน้ำทอง จะเป็นเครื่องปั้นดินเผา ที่เขียนลายด้วยวิธีลงยา เช่นเดียวกันกับเครื่องเบญจรงค์ แต่จะใช้สีทองที่ทำจากทองคำ เครื่องถ้วยลายน้ำทอง ได้รับความนิยมมากในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มต้นมาจากการสั่งทำเครื่องถ้วยลายน้ำทองจากประเทศจีน และผลิตภัณฑ์ที่ยังมีการนำเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่น เครื่องถ้วยเบญจรงค์ และลายน้ำทอง มีการปรับปรุง และคิดค้นรูปแบบ และลวดลายใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นด้วย เช่น ชามทรงบัว ภายในเคลือบขาว หรือเขียวน้ำทะเล ไม่มีลวดลาย สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้มีวิวัฒนาการสืบต่อจากแบบลวดลายในอดีต โถรูปทรงต่าง ๆ มีลวดลายที่น่าสนใจ เช่น ลายราชสีห์ ครุฑ นรสิงห์ กินรี หนุมาน ประกอบร่วมกับลายกนกเปลว และลายก้านขด สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีในรัชกาลที่ 2 ( พ . ศ . 2352) ทรงเป็นผู้ส่งเสริมที่สำคัญในการใช้เครื่องถ้วยลายน้ำทองจนเป็นที่นิยมในราชสำนัก มีการเขียนลายกนก ลายดอกไม้ ลายเครือเถา ลายประจำยาม ลายครุฑ ลายกินรี ลายเทวดา ลายยักษ์ ตลอดจน สัตว์ในหิมพานต์และลายสัตว์จริงได้ถูกผูกเป็นลายลงบนเครื่องถ้วยลายน้ำทอง และลายที่นิยมกันมากในสมัยนั้น คือ ลายดอกกุหลาบ ดอกโบตั๋น และดอกไม้สี่ฤดูซึ่งเป็นดอกไม้มงคล จากการศึกษาวิจัยค้นพบหลักฐานว่าในสมัยรัชกาลที่ 2 มีครอบครัวลาวเวียงจันทร์ และลาวพวน อพยพมาตั้งบ้านเรือนในพระราชอาณาจักร โดยเฉพาะที่เมืองฉะเชิงเทรา ได้มีการพระราชทานชามเบญจรงค์ให้กับมูลนายลาว เครื่องเบญจรงค์ลวดลายเทพพนม นิยมใช้ในพิธีบูชาเทวดา เรียกว่า เครื่องเบญจรงค์บายศรีปากชาม ซึ่งเป็นลักษณะชามเครื่องเบญจรงค์ที่ใช้รองบายศรี สำหรับเครื่องเบญจรงค์ที่มีลาดลายจีนที่นิยมต่อ ๆ มา เช่น ลวดลายดอกไม้สี่ฤดู ลายผีเสื้อ ลายค้างคาว ลายแมลงปอ ลายดอกพุดตาน และลายอื่น ๆ รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เครื่องเบญจรงค์ได้มีการผลิตในประเทศญี่ปุ่นและส่งมาขายในประเทศไทย แต่ไม่เป็นที่แพร่หลายเพราะไม่ได้รับความนิยม จึงมีจำหน่ายในช่วงเวลาสั้น และนักสะสมเครื่องเบญจรงค์ในระยะนั้นเรียกว่า “ เครื่องถ้วยเบญจรงค์ญี่ปุ่น ” ปัจจุบันเครื่องเบญจรงค์ได้กลับมาสู่ความนิยม ชาวไทยและชาวต่างประเทศได้ใช้เครื่องเบญจรงค์เป็นเครื่องประดับตกแต่งบ้าน เครื่องเบญจรงค์ถือเป็นของที่ระลึกและของขวัญที่มีความเป็นเอกลักษณ์สวยงาม หรูหรา และมีคุณค่าสูงสำหรับจะใช้ในโอกาสพิเศษ เช่น ของขวัญวันแต่งงาน http://cityofbenjarong.com/index.htm
Tags: เบญจรงค์
Next: ลักษณะคำสอนย่อๆ ที่นำสมัยในพระไตรปิฎกกล่าวไว้อย่างไรบ้าง

ประวัติเครื่องเบญจรงค์

ประวัติเครื่องเบญจรงค์
การทำเครื่องเบญจรงค์ถือได้ว่าเป็นงา นด้านศิลปหัตถกรรมของไทยที ่มีมา ตั้งแต่สมัยโบราณ และเป็นงานของช่างฝีมือที่ทำขึ้นเพื่อใช้ในราชวงศ์ชั้นสูงเท่านั้น เป็นงานศิลปหัตถกรรมที่แสดง ถึงลักษณะเฉพาะของไทย ในปัจจุบันมีการทำกันในหลายพื้นที่ทั่ว ทุกภาคของประเทศไทย และสามารถใช้ได้กับบุคคลทั่วไป
เครื่องเบญจรงค์เป็นเครื่องถ้วยที่มีการลงสีที่พื้นและลวดลาย เป็นเครื่องปั้นดินเผาประเภท เซรามิคส์ (Ceramics) ใช้เนื้อดิน ประเภทพอร์ซเลน (Porcelain ware) โดยเป็นเครื่องปั้นดินเผาเคลือบที่เขียนลายด้วยวิธีลงยา หรือสีผสมเคลือบ (Enamel) เป็นง านที่มีต้น กำเนิดในประเทศจีน ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 20 ในรัชสมัยพระเจ้าซวนเต๊อะ (พ.ศ. 1969-1978) สมัยราชวงศ์หมิง มีการผลิตครั้งแรก ในแคว้นกังไซ มณฑลเจียงซี (หรือที่คนไทยเรียกว่า กังไส) และพัฒนาต่อมาจนเป็นที่นิยมอย่างมากในสมัยพระเจ้าเฉิงฮั่ว (พ.ศ. 2008-2030) การเขียนลายตามแบบของจีนจะใช้ตั้งแต่ 3 สีขึ้นไป มีชื่อเรียกในภาษาจีนต่างๆกัน เช่น อู๋ไฉ่ โต้วไฉ่ เฝินไฉ่ และฝาหลั่งไฉ่ ส่วนที่เป็นของไทยนั้น จะนิยมลง 5 สีด้วยกัน คือ ขาว เหลือง ดำ แดง เขียว (คราม) จึงเรียกว่า เครื่องเบญจรงค์ หรือ 5 สี โดยทั้ง 5 สีนี้จัดได้ว่าเป็นแม่สีเครื่องถ้วยเบญจรงค์ของไทย
และในบางครั้งอาจมีการใช้สีมากกว่า 5 สีด้วย เช่น ชมพู ม่วง แสด และน้ำตาล ในอดีตใช้การสั่งทำ ที่ประเทศจีนตามความคิดและลวดลายของไทย การสั่งทำนั้นจะมีช่างของไทยเดินทางไปควบคุมการผลิตเพื่อให้ได้รูปล ักษณะที่เป็นแบบไทย เริ่มตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ยุคที่ 3 ช่วงประมาณรัชสมัย พระเจ้าปราสาททอง (พ.ศ. 2173-2198)
และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช(พ.ศ. 2199-2231) ซึ่งตรงกับสมัยราชวงศ์หมิงตอนปลาย โดยเฉพาะใน สมัยพระเจ้าวั่นลี่ และต่อเนื่องจนถึงสมัยราชวงศ์ชิง การสั่งทำจากประเทศจีนในสมัยนั้นได้สั่งทำเป็นโถปริก และโถฝาขนาดกลาง เขียน เป็นลายกนก ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายเทพนม ลายนรสิงห์ และยังมีที่เป็นลวดลายของจีน เช่น ลายเทพนมจีน (เทวดาท้องพลุ้ย) มีพื้นสี ต่างๆ เช่น เหลือง ชมพู ม่วงอ่อน เครื่องถ้วยเบญจรงค์ของไทยมีทั้งสั่งทำที่เมืองจิงเต๋อเจิ้น และจากเตาเผาที่มณฑลฝูเจี้ยนและ กวางตุ้ง เครื่องเบญจรงค์ที่สั่งทำจากเมืองจิงเต๋อเจิ้น มักเป็นของใช้ในราชสำนักเพราะเนื้อดินปั้นละเอียด แกร่ง และช่างมี ฝีมือดี เขียนลายได้ละเอียดสวยงาม
ส่วนเครื่องถ้วยลายน้ำทอง จะเป็นเครื่องปั้นดินเผาที่เขียนลายด้วยวิธีลงยาเช่น เดียวกันกับเครื่องเบญจรงค์ แต่จะใช้สีทองที่ทำจากทองคำ ในอดีตเริ่มต้นมาจากการสั่งทำจากประ เทศจีนเช่นเดียวกัน โดยลายน้ำทองนี้ นิยมในประเทศจีน ในสมัยราชวงศ์ชิง ใน รัชสมัยของพระเจ้า คังซี (พ.ศ. 2205-2266) และพระเจ้าหย่งเจิ้น (พ.ศ. 2266-2279) ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชจนถึงรัชสมัยพระเจ้าท้ายสระ

ซึ่งในสมัยนี้มีการสั่งทำเครื่องถ้วยลายน้ำทอง จากประเทศญี่ปุ่นด้วย เครื่องถ้วยลายน้ำทองได้รับความนิยมมากในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตน โกสินทร์

วันพฤหัสบดีที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2551

พระพิฆเนศวร


เป็นโอรสของพระศิวะและพระแม่อุมา
(คาถาบูชาพระพิฆเนศวร)
โอม พระพิฆเนศ สิทธิ ประสิทธิเม มหาลาโภ
ทุติยัมปิ พระพิฆเนศ สิทธิ ประสิทธิเม มหาลาโภ
ตะติยัมปิ พระพิฆเนศ สิทธิ ประสิทธิเม มหาลาโภ
3 จบ

วันอังคารที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2551

แก้วมัคช้าง


แก้วมัคช้าง
ประโยชน์
ใช้ใส่เครื่องดื่ม
ขวัญเทศกาลต่างๆๆๆ
ตกแต่งบ้าน สะสมของเก่า

วันเสาร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ประวัติการทำเครื่องเบญจรงค์

ประวัติการทำเครื่องเบญจรงค์
ในประเทศไทยการทำเครื่องเบญจรงค์ถือได้ว่า เป็นงานด้านศิลปหัตถกรรมของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เครื่องถ้วยเบญจรงค์ของไทยในอดีตใช้การสั่งทำที่ประเทศจีนตามความคิดและลวดลายของไทย การสั่งทำนั้นจะมีช่างของไทยเดินทางไปควบคุมการผลิตเพื่อให้ได้รูปลักษณะที่เป็นแบบไทย สมัยกรุงศรีอยุธยาและสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ช่วงศตวรรษที่ 18 และ 19 เครื่องถ้วยเบญจรงค์ของราชวงศ์ไทยชั้นสูงได้สั่งทำที่เมืองจิงเต๋อเจิ้น และจากเตาเผาที่มณฑลฝูเจี้ยนและกวางตุ้ง เครื่องเบญจรงค์ที่สั่งทำจากเมืองจิงเต๋อเจิ้น มักเป็นของใช้ในราชสำนักเพราะเนื้อดินปั้นละเอียด แกร่ง และช่างมีฝีมือดี เขียนลายได้ละเอียดสวยงาม ต้นกำเนิดของเครื่องเบญจรงค์ได้ใช้สีวาดระบายเพียง 3 สี ต่อมาได้พัฒนาเครื่องเบญจรงค์มี 5 สี คือ สีขาว สีเหลือง สีดำ สีแดง และสีเขียว ( คราม ) ดังนั้น ชื่อที่เรียกว่า “ เบญจรงค์ ” หมายถึง เครื่องเคลือบที่มีการวาดสีลงไป 5 สี ปัจจุบันมีการใช้สีมากกว่า 30 สี เครื่องเบญจรงค์มีการออกแบบลวดลายต่าง ๆ ด้วยการวาดสี 5 สี ลวดลายที่เป็นที่รู้จักได้แก่ ลายกนก ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายเทพพนม ลายนรสิงห์ รวมตลอดถึงลวดลายดอกไม้ ลายสัตว์ และลวดลายจากเรื่องรามเกียรติ์ เป็นต้น ลวดลายที่วาดลงในเครื่องเบญจรงค์ สะท้อนถึงภูมิปัญญาชาวบ้าน มีวัฒนธรรม ตามความเชื่อของไทย และวิถีชีวิตของคนไทยส่วนเครื่องถ้วยลายน้ำทอง จะเป็นเครื่องปั้นดินเผา ที่เขียนลายด้วยวิธีลงยา เช่นเดียวกันกับเครื่องเบญจรงค์ แต่จะใช้สีทองที่ทำจากทองคำ เครื่องถ้วยลายน้ำทอง ได้รับความนิยมมากในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มต้นมาจากการสั่งทำเครื่องถ้วยลายน้ำทองจากประเทศจีน และผลิตภัณฑ์ที่ยังมีการนำเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่น เครื่องถ้วยเบญจรงค์ และลายน้ำทอง มีการปรับปรุง และคิดค้นรูปแบบ และลวดลายใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นด้วย เช่น ชามทรงบัว ภายในเคลือบขาว หรือเขียวน้ำทะเล ไม่มีลวดลาย สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้มีวิวัฒนาการสืบต่อจากแบบลวดลายในอดีต โถรูปทรงต่าง ๆ มีลวดลายที่น่าสนใจ เช่น ลายราชสีห์ ครุฑ นรสิงห์ กินรี หนุมาน ประกอบร่วมกับลายกนกเปลว และลายก้านขด สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีในรัชกาลที่ 2 ( พ . ศ . 2352) ทรงเป็นผู้ส่งเสริมที่สำคัญในการใช้เครื่องถ้วยลายน้ำทองจนเป็นที่นิยมในราชสำนัก มีการเขียนลายกนก ลายดอกไม้ ลายเครือเถา ลายประจำยาม ลายครุฑ ลายกินรี ลายเทวดา ลายยักษ์ ตลอดจน สัตว์ในหิมพานต์และลายสัตว์จริงได้ถูกผูกเป็นลายลงบนเครื่องถ้วยลายน้ำทอง และลายที่นิยมกันมากในสมัยนั้น คือ ลายดอกกุหลาบ ดอกโบตั๋น และดอกไม้สี่ฤดูซึ่งเป็นดอกไม้มงคล จากการศึกษาวิจัยค้นพบหลักฐานว่าในสมัยรัชกาลที่ 2 มีครอบครัวลาวเวียงจันทร์ และลาวพวน อพยพมาตั้งบ้านเรือนในพระราชอาณาจักร โดยเฉพาะที่เมืองฉะเชิงเทรา ได้มีการพระราชทานชามเบญจรงค์ให้กับมูลนายลาว เครื่องเบญจรงค์ลวดลายเทพพนม นิยมใช้ในพิธีบูชาเทวดา เรียกว่า เครื่องเบญจรงค์บายศรีปากชาม ซึ่งเป็นลักษณะชามเครื่องเบญจรงค์ที่ใช้รองบายศรี สำหรับเครื่องเบญจรงค์ที่มีลาดลายจีนที่นิยมต่อ ๆ มา เช่น ลวดลายดอกไม้สี่ฤดู ลายผีเสื้อ ลายค้างคาว ลายแมลงปอ ลายดอกพุดตาน และลายอื่น ๆ รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เครื่องเบญจรงค์ได้มีการผลิตในประเทศญี่ปุ่นและส่งมาขายในประเทศไทย แต่ไม่เป็นที่แพร่หลายเพราะไม่ได้รับความนิยม จึงมีจำหน่ายในช่วงเวลาสั้น และนักสะสมเครื่องเบญจรงค์ในระยะนั้นเรียกว่า “ เครื่องถ้วยเบญจรงค์ญี่ปุ่น ” ปัจจุบันเครื่องเบญจรงค์ได้กลับมาสู่ความนิยม ชาวไทยและชาวต่างประเทศได้ใช้เครื่องเบญจรงค์เป็นเครื่องประดับตกแต่งบ้าน เครื่องเบญจรงค์ถือเป็นของที่ระลึกและของขวัญที่มีความเป็นเอกลักษณ์สวยงาม หรูหรา และมีคุณค่าสูงสำหรับจะใช้ในโอกาสพิเศษ เช่น ของขวัญวันแต่งงาน http://cityofbenjarong.com/index.htm
Tags: เบญจรงค์
Next: ลักษณะคำสอนย่อๆ ที่นำสมัยในพระไตรปิฎกกล่าวไว้อย่างไรบ้าง

วันพฤหัสบดีที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2551

แก้วมัคขอบเบญจรงค์


แก้วมัคขอบเบญจรงค์
ใช้ใส่เครื่องดื่ม
ราคา 350 B

วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ชุดชามฝา


ชุดชามฝา ลายจักรี สีฟ้า
ราคา 6,500 บาท

วันจันทร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2551

akebenjarong


งานศิลปะเบญจรงค์

สืบสานความเป็นไทยเครื่องเบญจรงค์จากดอนไก่ดี

จังหวัดสมุทรสาครติดต่อสอบถามที่0843270964

akebenjarong

ค้นหาบล็อกนี้